ษษ หลักในการใช้พยัญชนะ ศ ษ และ ส เขียนคำ

ษษ

ษษ

การใช้พยัญชนะในเสียง /สอ/ ของภาษาไทยนั้นมีหลักเกณฑ์ของการเขียนคำ ก็คือ คำไทยแท้ โดยทั่วไปนั้นจะนิยมเขียนด้วยพยัญชนะ ส ตัวอย่างเช่น pg slot ทาง เข้า เสือ เสื้อ เสียม เสือก สอใส เป็นต้น ยกเว้นแต่ คำไทย และคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น บางคำที่เขียนมาแต่ในโบราณจะใช้พยัญชนะ ศ และพยัญชนะ ษ บ้าง ทำให้การใช้รูปการเขียนเหล่านั้นยังอยู่ในปัจจุบันนี้ 

ตัวอย่างเช่น พยัญชนะ ศ = ศอ เศร้า ศอก ศพ ปราศจาก เศิก ศักดิ์ศรี ฝรั่งเศส ไอศกรีม เลิศ พยัญชนะ ษ= ฤาษี กระดาษ ดาษดื่น อังกฤษ โจษจัน ฝีดาษ รักษา

คำที่ได้มาจากภาษาบาลีที่จะใช้พยัญชนะ ส ทั้งหมด ตัวอย่างเช่น คำว่า มเหสี รังสี โสภา พระสงฆ์ สาธิต สุสาน สโมสร สิริ เป็นต้น 

คำที่ได้มาจากภาษาสันสกฤตนั้นจะมีเกณฑ์ในการเขียน ดังนี้ พยัญชนะ ศ จะเขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรค จะ และไว้ที่หน้าพยัญชนะเศษวรรคในบางรูป คือ ถ้าหากว่าเขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรค จะ ตัวอย่างเช่น อัศจรรย์ หรือพฤศจิกายน เป็นต้น ถ้าหากว่าเขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะเศษวรรค ตัวอย่างเช่นคำว่า โศลก อาศรม แพศยา อัศวิน และคำว่าเทเวศรพิฆเนศวร์ เป็นต้น

การเขียนพยัญชนะ ษ จะใช้เขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรค ฎะ และเขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรคอื่น ๆ และเขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะเศษวรรคในบางรูปได้ ดังนี้ 

การเขียนพยัญชนะ ษ ไว้หน้าพยัญชนะวรรค ฎะ ตัวอย่างเช่น คำว่า กนิษฐา ทฤษฎี โฆษณา ราษฎร และคำว่าโอษฐ์ เป็นต้น

การเขียนพยัญชนะ ษ ไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรคอื่น ๆ Ufabet  ตัวอย่างเช่น คำว่า พฤษภาคม เกษตร บุษบา และคำว่าบุษบก เป็นต้น

การเขียนพยัญชนะ ษ 

การเขียนพยัญชนะ ษ ไว้ที่หน้าพยัญชนะเศษวรรคในบางรูป ตัวอย่างเช่น คำว่า บุษรา บุษยมาส บุษยา ศิษย์ และคำว่าอักษร เป็นต้น

การเขียนพยัญชนะ ส ใช้เขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรค ตะ และเขียนไว้ที่พยัญชนะเศษวรรคในบางรูปได้ดังนี้

การเขียนพยัญชนะ ส เขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะวรรค ตะ ตัวอย่างเช่น คำว่า วาสนา พิศดาร สถาน พัสดุ สตรี สัสดี อัศดง และคำว่าสวัสดี เป็นต้น

การเขียนพยัญชนะ ส เขียนไว้ที่หน้าพยัญชนะเศษวรรค ตัวอย่างเช่น คำว่าสุรัสวดี มัสลิน ประภัสสร และคำว่า มัตสยา เป็นต้น

ตัว ศ เป็นพยัญชนะตัวที่ 38 ซึ่งจะเป็นพวกตัวอักษรสูง จะใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้น และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดได้ ในคําที่มาจากภาษาสันสกฤต และภาษาอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น คำว่าอากาศ ศาลา วงศ์ และคำว่า ไอศกรีม เป็นต้น

คำว่า ศก จะมีความหมายว่า ผม ตัวอย่างเช่น พระศกของพระพุทธรูป อีกหนึ่งความหมายของคำว่า ศก ก็คือหมายถึง ระบบในการคํานวณ หารนับเวลาเรียงลําดับกันเป็นปี ๆ โดยที่จะถือเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งนั้นเป็นจุดเริ่มต้น 

ดังในคําว่า รัตนโกสินทรศก นั้นจึงถือว่าเอาปีเริ่มในการสร้างของกรุงรัตนโกสินทร์นั้นเป็นจุดเริ่มต้น ในบางทีก็จะใช้เป็นคําย่อของศักราช ตัวอย่างเช่น ศริสต์ศก และพุทธศก เป็นต้น 

หรือจะเป็นคําเรียกปีหนึ่ง ๆ ของจุลศักราช joker slot เพื่อที่จะให้ทราบว่าปีนั้นเป็นปีที่ลงท้ายด้วย 1 2 หรือ 0 ตัวอย่างเช่น ถ้าหากว่าลงท้ายด้วย 1 จะเรียกว่าปีนั้นว่า เอกศก ถ้าหากว่าลงท้ายด้วย 2 เรียกว่าปปีนั้นว่า โทศก ถ้าหากว่าลงท้ายด้วย 0 เรียกว่าปีนั้นว่า สัมฤทธิศก 

ตัวอักษร ษ 

คำว่า ศกฏะ จะหมายถึง เกวียน 

ศกละ จะหมายถึง ส่วน ซีก

ศกุน จะหมายถึง นก

ศกุนต์ จะหมายถึง นก

ศกุนิ จะหมายถึง นก

ศกุนี จะหมายถึง นกตัวเมีย

ศงกา จะหมายถึง ความสงสัย 

ศจี จะหมายถึง ชายาพระอินทร์

ศฐะ จะหมายถึง คนโกง คนล่อลวง คนโอ้อวด

พยัญชนะ ษ เป็นพยัญชนะตัวที่ 39 ในลำดับที่ถัดจากพยัญชนะ ศ และก่อนหน้าพยัญชนะ ส มีการออกเสียงอย่างพยัญชนะ ส ซึ่งจะจัดอยู่ในกลุ่มตัวอักษรสูง

คำว่า ษมา จะหมายถึง กล่าวคำขอโทษ

คำว่า ษมายุมแปลง จะหมายถึง more info เครื่องในการขมาโทษที่ผู้ชายนั้นจะนำไปคำนับพ่อแม่ของผู้หญิง เพื่อเป็นการขอโทษในการที่ลักพาลูกสาวไปนั่นเอง

คำว่า ษัฏกะ หมวด 6 จะหมายถึง รวมสิ่งละ 6

คำว่า ษัษฏี จะหมายถึง จำนวน 60

คำว่า ษัษฐะ จะหมายถึง ที่ 6

คำว่า ษัษฐี จะหมายถึง วันที่ 6 หรือวัน 6 ค่ำ

คำว่า โษฑศะ หรือโษฑศัน จะหมายถึง 16 

พยัญชนะ ส เป็นพยัญชนะตัวที่ 40 เป็นตัวอักษรสูง จะใช้เป็นพยัญชนะต้น และจะใช้เป็นตัวสะกดในมาตรากด หรือว่าแม่กด ตัวอย่างเช่น คำว่า สมัผัส สวิส และคำว่ารส เป็นต้น

คำว่า สกปรก จะหมายถึง เปรอะ หรือเปื้อนด้วยสิ่งที่ถือได้ว่าน่าเกลียด หรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่างเช่น เนื้อตัวสกปรกด้วยฝุ่น เป็นต้น

คำว่า สกรณีย์ จะหมายถึง ผู้ยังมีหน้าที่จะต้องทํา

คำว่า สกรรจ์ จะหมายถึง ร้าย ดุร้าย เก่งกาจ แข็งแรง โดยส่วนใหญ่ใช้คำว่า ฉกรรจ์

อ่านบทความเพิ่มเติม เกม จ อย ต่อ ทีวี ราคา แนะนำเกมจอย